The Nation
http://nationmultimedia.com/2007/08/21/national/national_30045838.php
Published on August 21, 2007
English tutors failing the test
Just one in 10 can score more than 60 per cent
Training is needed urgently to improve the standard of English teaching in Thailand, senior government and private educationalists said after seeing the "highly unimpressive scores" in a recent test of English-language teachers.
Of the 14,189 teachers in 30 tourism-oriented provinces who took the test, 74.59 per cent scored less than 41 marks out of a possible 100, according to an Office of Basic Education Commission (OBEC) report.
Only 9.94 per cent of the teachers scored between 60 and 100 marks, while 15.47 per cent managed to score between 42 and 60 marks.
The lowest score earned in the test - which allotted 30 marks for listening ability, 30 marks for reading, 20 marks for writing and 20 marks for speaking - was two.
Among the 30 provinces from where the teachers who took the test came were Bangkok, Phuket, Chiang Mai, Sukhothai and Chon Buri.
The test was conducted jointly by OBEC and Ramkhamhaeng University as a follow-up to a previous one conducted four years ago in which 90 per cent of English-language teachers also did poorly.
The OBEC report described English teaching in Thailand currently as a "failure", and cited the lack of direct education in teaching English for local teachers as the main reason.
Asst Prof Chaleosri Phiboolchol, chairperson of the English-language Teachers' Association of Thailand, said most of the approximately 500,000 English teachers in government and private schools at primary and secondary level "were made to do their jobs" without basic qualifications or proper training.
She suggested giving scholarships and providing training and rewarding outstanding teachers as solutions to encourage self-development among English teachers.
Assoc Prof Suchada Nimmannit, a lecturer with Chulalongkorn University's Language Institute, said the Education Ministry had failed to substantially improve English teachers.
"Training every few years for teachers is not enough to develop them academically," she added.
She said that if sending Thai English-language teachers to countries with native English speakers and highly professional training was too expensive, exchange programmes among Southeast Asian countries would be good enough to expose them to new experiences and prompt them to adjust to all-English environments.
Akkhara Akkharanithi, a lecturer at the Language Institute, said the teaching of English should also be improved at kindergarten level, where all the teachers are too burdened with full-time tasks to improve their English teaching.
She suggested that all government English teachers who worked for more than five years should be allowed to study English overseas on their own funds, while more scholarships should be made available to those who proved to be outstanding English teachers.
Thammarat Kijchalong
The Nation
International Herald Tribune
http://www.iht.com/bin/print.php?id=4698260
Bangkok's template for an air-quality turnaround
By Thomas Fuller
Friday, February 23, 2007
BANGKOK: Black smoke billowing from tailpipes into the humid, tropical air was once a Bangkok trademark. But a decade and a half after Thailand began a battle for better air quality, this erstwhile icon of smog has emerged as a role model for Asia's pollution-choked capitals, boasting considerably cleaner air than Beijing, Jakarta, New Delhi and Shanghai.
Some buses here still belch toxic vapor. And Thailand's political future is hard to plot as the country seeks to extricate itself from the tangled legacy of the military-led coup last September. Yet the skies in Bangkok on most days are blue, thanks to the work of a small, dedicated group of bureaucrats who pressed the case for cleaner air despite a history of weak, short-lived governments.
"There's a huge difference when you walk around the streets," said Jitendra Shah, a coordinator at the World Bank for environment and social issues in Southeast Asia who has worked in Bangkok since the 1990s. "Breathing is definitely easier."
Thailand's battle against air pollution provides a virtual how-to manual of environmental cleanup, say Shah and other air quality experts in Asia. Thai officials cajoled oil companies to produce cleaner fuel, used higher taxes to phase out the once-ubiquitous two- stroke motorcycles and converted all taxis to run on clean-burning liquefied petroleum gas. They overcame lobbying campaigns from the large, mostly Japanese-owned car industry and imposed progressively stricter emissions controls based on European norms (Thailand had no emissions standards before 1992).
The local government enacted simple but highly effective measures like washing the streets to keep the dust down. Buddhist crematoria in and around the city were urged to change from wood-burning pyres to more sophisticated electric incinerators.
The striking result is that, while the number of motor vehicles registered in Bangkok has increased by 40 percent over the past decade, the average levels of the most dangerous types of pollution — small dust particles that embed themselves in the lungs — have been cut by 47 percent, from 81 to 43 micrograms per cubic meter during the same period. Bangkok's air, on average, now falls within the limit set by the U.S. Environmental Protection Agency of 50 micrograms per cubic meter, but is above the European Union limit of 40.
"It's possible for others to follow what we've done here," said Supat Wangwongwatana, director general of the pollution control department at Thailand's Ministry of Environment.
It's a line that Supat has used often in recent years. The World Bank and the U.S. Environmental Protection Agency have dispatched him to countries around the region, including India, Indonesia, the Philippines and Vietnam, to speak in antipollution workshops.
Four decades ago Thailand did not even have a word for pollution — there was barely use for it in a city with many fewer cars. It was only in 1976 that the country's Royal Institute, the official arbiter of the Thai language, coined the word "mollapit." The word means "poison or toxins that come from impurity or dirtiness," according to Naiyana Wara-aswapati, a senior linguist at the institute.
Yet giving pollution a name was far easier than cleansing the air. And as pedestrians in Bangkok can attest, some of the poison still lingers. The city still has nagging air quality problems especially — and paradoxically — in neighborhoods served by the city's relatively new mass transit system, which was supposed to help ease pollution by allowing commuters to leave their cars at home.
Pollution gets trapped underneath the concrete platforms of the elevated railway and can rise to levels that rival the most polluted cities in Asia: 85 to 180 micrograms per cubic meter of dust particles — many times higher than the World Health Organization's guidelines of 20 micrograms per cubic meter.
"No matter how much cleaner the gasoline becomes it stills stinks," said Chainarong Nobnobe, a traffic police officer working in one of the most congested areas of Bangkok. "There should be measures to limit the number of cars."
Greater Bangkok, with a population of about 10 million, has not yet achieved the air quality of Singapore or Tokyo. These latter cities have on average the cleanest air of major Asian capitals — air quality roughly equivalent to New York City's. But what Bangkok has shown is that you do not need to have Singapore's authoritarian legacy or Tokyo's riches to make radical improvements to the environment.
Thailand has also demonstrated that a thriving car industry is not incompatible with cleaner air, said Shah of the World Bank. Thailand, which will produce about 1.28 million cars and trucks and 3.5 million motorcycles this year, is Asia's third-largest exporter of vehicles, after Japan and Korea.
Part of Bangkok's success in cleaning its air is due to luck and geography. Unlike Los Angeles, Bangkok has no surrounding mountains to trap smog. Unlike Beijing, which has some of the worst air in East Asia, power plants around Bangkok do not use coal. Thailand gets natural gas from neighboring Myanmar and its own platforms in the Gulf of Thailand; 70 percent of the country's power production is from natural gas, which burns more cleanly than coal.
Most of the credit for the cleaner air, however, goes to a group of strong- willed environmental pioneers, said Nuntavarn Vichit-Vadakan, dean of the Faculty of Public Health at Thammasat University. Technocrats, often trained in the United States, convinced politicians of the need for action, Nuntavarn said.
They faced considerable resistance. Supat, the director of the pollution control department, helped usher in Thailand's first laws on tailpipe emissions, based mainly on European standards. In the early 1990s he traveled to Japan with Kasem Sanitwong Na Ayutthaya, the current environment minister, to persuade Japanese automakers to make and sell cleaner cars in Thailand.
Bhichit Rattakul, a U.S.-trained microbiologist, created the Anti-Air Pollution & Environmental Protection Foundation, a nonprofit advocacy group, in 1986, well before going green was trendy. Elected Bangkok governor in 1996, he planted 400,000 trees, cracked down on polluting trucks and established stricter rules for dusty construction sites.
When Bhichit announced that the local government would transform an 18-hole golf course incongruously located on the outskirts of Bangkok into a giant park, he famously faced off with hundreds of protesting golf caddies who barricaded themselves on the grounds of the club and threw golf balls and bricks at officials who tried to dislodge them. (Police ultimately dispersed the caddies and the area is today a public park as planned.)
Piyasvasti Amranand, a former secretary general of Thailand's National Energy Policy Office, in 1991 established the country's first comprehensive plan to remove lead, sulfur and other harmful chemicals from fuel. Piyasvasti, who is now energy minister, says he encountered strong resistance from Western oil companies and Japanese car manufacturers; he recalled long debates over the proposed introduction of catalytic converters, the device that neutralizes harmful chemicals before they are emitted from tailpipes.
At the time, Bangkok's air was laden with dust, lead and other harmful chemicals. In 1993, 28 percent of children tested at six Bangkok schools had lead concentrations higher than the acceptable threshold set by the U.S. Centers for Disease Control: 10 micrograms per deciliter of blood. Traffic policemen and bus drivers also showed high lead levels but in children it was considered most harmful because lead has been shown to retard mental development.
After Thailand completely phased out lead gasoline 1995 (a year before the United States although the U.S. had started its gradual reduction program in 1973, well before Thailand) lead levels plummeted in Bangkok. By 2000 only 3 percent of children at the same schools in Bangkok were above the threshold.
In the West as in Thailand leaded gasoline seems like ancient history. Yet one measure of Thailand's head-start is that in Indonesia refineries stopped producing leaded gasoline only last year.
In the early 1990s Supat used data on the high lead levels in schoolchildren to convince the owner's of Thailand's major oil refineries, motorcycle and car manufacturers – and the public – that something needed to be done.
Although public concern about pollution was rising, Supat said many Thais were also worried that better fuel and more efficient engines would cost more money. Supat responded by saying that the black smoke coming out of vehicles was unburnt fuel. "We're wasting a lot of fuel out of the tailpipe," he remembers repeating.
In the end it was consumers, not industry, that paid for the higher quality fuel and tighter emissions controls on cars. The government altered the tax structure to make unleaded gasoline cheaper even though it was more expensive to produce than leaded fuel. This was achieved by sleight of hand: Officials avoided a loss of revenue for the government by quietly raising a levy on gasoline several months before the introduction of unleaded fuel, channeling the extra proceeds into a special oil fund, and then lowering the levy only for unleaded fuel.
"That is the pattern we've been using all along: increasing the oil fund without people noticing. Slip it in," Piyasvasti said.
Piyasvasti used the same tactic last October, raising the oil levy in preparation for greater incentives for biodiesel (diesel mixed with locally produced palm oil) and gasohol (gasoline mixed with ethanol made from locally produced sugar cane and tapioca). These fuels, which have been available in small quantities since 2004, burn more cleanly and help Thailand reduce its oil and energy imports, which today stand at around 60 percent of energy consumption. The government hopes that once taxes are lowered consumers will be drawn in greater numbers to these fuels.
"The general public likes lower prices. That's the most important thing," Piyasvasti said.
On the streets of Bangkok, residents give the city's fight against pollution mixed reviews.
Suwanna Jusing, 50, the owner of a roadside restaurant in northern Bangkok, said pollution had improved during the three decades she had been selling her chicken, pork and shrimp noodle dishes to customers at roadside tables. The authorities are trying to make Bangkok "a better place to live," she said. "And that makes me happy."
Pacharapun Tinnabal, 25, a graduate student who recently returned after living three years in Jakarta, said she was relieved to return home because the air in the Indonesian capital is "far more polluted."
But others, such as Thongpoon Nawiman, a 41-year-old motorcycle messenger who spends five days a week wending through Bangkok's wide boulevards and tiny alleys, is not satisfied. "The air is still polluted, and the traffic is still bad," he said.
Bhichit, the former Bangkok governor, agrees that there's lots of room for improvement.
"I'm still not a happy man," he said. "I'm trying to demand more."
After his 4-year term as governor, which ended in 2000, Bhichit returned to a career of environmental activism, and reinvigorating his anti-air pollution foundation.
Hundreds of volunteers filmed and photographed buses spewing black smoke, evidence that Bhichit used in a lawsuit against the city's transit authority. Last year he won a partial victory to retire some decrepit, polluting buses, but the transit authority is appealing the decision.
"They should revoke the licenses of these people," Bhichit said. He blames Supat at the pollution control department for not cracking down hard enough.
It will be years before all of the ancient buses and two-stroke motorcycles hit the scrap heap. But as they slowly fade away, Bangkok's air will improve even more, say experts. Close to 100 percent of motorcycle sold in Thailand today have 4-stroke engines, an almost total reversal from a decade earlier. Supat is also trying to convince drivers of Bangkok's 9,000 iconic but heavily polluting three-wheeled "tuk-tuks" to change over to 4-stroke engines.
In November the government approved the construction of five new or extended light-rail lines, scheduled for completion in 2012. The city is also planning a "Bus Rapid Transport" system, a network of dedicated bus lanes separated from traffic.
The car will remain king in Bangkok for years, but government officials say they hope residents will leave them at home most days.
"There's no problem to own a car but don't use it that much," Supat said.
My Host Familes
ครอบครัวที่ 1
หลังจากที่น้ำหวานได้พักอยู่กับครอบครัวของน้าแม็คประมาณ 3-4วันแล้ว น้ำหวานก็ต้องไปพักกับครอบครัวของชาวอเมริกันที่ Carpinteria ใน Cate School ซึ่งอยู่ห่างจาก Santa Barbaraประมาณ 45 นาที ครอบครัวนี้มีสมาชิกทั้งหมด 4 คน โดยมี Gary เป็นหัวหน้าครอบครัว เป็นคุณครูสอนวิชาคณิตศาสตร์อยู่ที่โรงเรียนนี้ และ Sandiซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ทำงานอยู่ในออฟฟิศที่โรงเรียนนี้เช่นเดียวกัน ทั้งสองคนมีลูก 2 คนคือ Cydney ลูกสาวคนโตที่อายุ 11 ขวบและMorgan ลูกชายคนเล็กที่อายุ 8 ขวบ ครอบครัวนี้มีสุนัข 1 ตัวชื่อ Rocket ครอบครัวนี้อบอุ่นมากและ ทุกคนก็ดูแลเอาใจใส่น้ำหวานได้ดีมากๆ ไปคืนแรกนั้น ที่บ้านของเขา มีปาร์ตี้เกี่ยวกับศาสนายิวต์ มีคนมาร่วมงานมากมาย ทั้งครูและนักเรียนจากโรงเรียนCateด้วย ทำให้น้ำหวานได้เรียนรู้พิธีกรรมทางศาสนาของศาสนายิวต์ด้วย และนี่เป็นครั้งแรกที่น่ำหวานได้มาร่วมรับประทานอาหารที่ต้องใช้ช้อน ส้อมและมีด ซึ่งน้ำหวานไม่เคยได้รู้จักมาก่อนเลย
ทุกๆวันSandi จะขับรถพาลูกๆทั้งสองคน ออกไปเล่นกีฬาข้างนอก และน้ำหวานก็จะต้องติดตามไปด้วยทุกครั้ง เพราะฉะนั้นในวันหนึ่งๆ น้ำหวานต้องออกจากโรงเรียนนี้ประมาณ 3-4รอบ ซึ่งน้ำหวานก็ชอบมาก เพราะว่าเราจะได้ออกไปเจอกับสิ่งที่เรายังไม่เคยได้เห็นมาก่อน กีฬาที่ทั้งสองคนเล่นก็คือ เทนนิส มีอยู่วันหนึ่งที่ Moganต้องออกไปเล่นซอฟบอล กีฬานี้ดูท่าท่างสนุกมากๆ และน้ำหวานก็ได้ลองเล่นด้วย ซึ่ง Sandi Cydney และ Morgan เป็นผู้ที่คอยสอนน้ำหวาน
อาหารเช้าของครอบครัวนี้ ก็มีเพียงไข่ นม ขนมปังเท่านั้น แต่ตอนกลางวันนั้น น้ำหวานก็จะกินที่โรงอาหารของโรงเรียนCate พอตอนเย็น พวกเราก็จะออกปรับประทานอาหารข้างนอก เช่น ไปที่ร้านอาหารไทย ร้านอาหารจีน ร้านอาหารญี่ปุ่น เป็นต้น และ น้ำหวานก็ได้ไปดูหนังเรื่อง ‘ Meet the Robinson’ หลังจากนั้น ก็ไปเดินเล่นที่ชายทะเล น้ำหวานชอบครอบครัวนี้มากๆ เพราะว่าทุกคนเป็นกันเอง สบายๆ และที่น้ำหวานตื่นเต้นมากที่สุดก็คือ ครอบครัวนี้จะเดินทางมาที่เมืองไทยพร้อมกับโครงการ Inside Thailandของน้าแม็ค และน้าบุษบาด้วย
ห้องนอนของน้ำหวานนั้นดีมากๆ มีเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนตัวให้ดเวยสำหรับการนอนนั่น เราต้องซุกตัวเข้าไปใต้ผ้าห่ม ไม่ใช่ดึงผ้าห่มออกมา เหมือนที่เมืองไทย เตียงนอนก็นุ่มมากๆ สรุปแล้ว ทั้งอาทิตย์นั้น น้ำหวานนอนสบายมากๆ
ก่อนจากกับครอบครัวนี้ เขาได้พาเบญญาภาและน้ำหวานออกไปที่ร้าน Zodoเพื่อไปโยนโบล์ลิ่งกัน ซึ่งเป็นครั้งแรกของน้ำหวานที่ได้มาโยนโบล์ลิ่ง แต่ว่าก่อนที่จะไปนั้น พวกเราก็ได้มาพักกินอาหารกลางวันที่ร้าน In–n-outซึ่งเป็นร้านอาหารแบบเร่งด่วนและง่ายๆ และสิ่งที่พวกเราได้สั่งก็คือ แฮมเบอร์เกอร์ ซึ่งน้ำหวานก็ไม่เคยกินมาก่อนเลยในชีวิต และต่อมาเราก็ได้ไปโยนโบล์ลิ่ง ในเซตแรกนั้น Cydneyเป็นฝ่ายชนะ และเซตต่อมาน้ำหวานก็เป็นฝ่ายชนะ ซึ่งน้ำหวานรู้สึกสนุกมากๆ เพราะว่าเป็นครั้งแรก และไม่เคยทำอะไรแบบนี้มากก่อนเลย น้ำหวานรู้สึกดีใจที่ได้อยู่กับคารอบครัวนี้ และไม่อยากจากกันเลย น้ำหวานได้มอบของที่ระลึกให้กับเขา ก็คือ โปสเตอร์รูปเกี่ยวกับประเพณีและวัฒนธรรมของประเทศไทย ซึ่งเขาก็ชอบกันมากๆ และพวกเขาก็ได้ให้เสื้อที่เขียนว่า Cate แก่น้ำหวาน 1 ตัว น้ำหวานชอบมากๆ เพราะว่า น้ำหวานเคยคิดอยากได้เสื้อแบบนี้เหมือนกัน
มีหลายๆครั้งที่ Sandi พาน้ำหวานไปดูการแข่งขันกีฬา เช่น การแข่งขันกีฬาวอลเลย์บอล ซึ่งเป็นการแข่งขันระหว่างโรงเรียนCate และโรงเรียนอื่นๆ ซึ่งฝ่าย Cate ก็เป็นฝ่ายชนะไป และSandiก็ยังได้แนะนำให้น้ำหวานรู้จักกับกีฬาใหม่ๆที่น้ำหวานไม่เคยรู้จัก เช่น แครชเก็ต รักบี้ ซอล์ฟบอลเป็นต้น และน้ำหวานก็ได้สอนให้พวกเขา ไหว้ และกล่าวคำทักทายเป็นภาษาไทยเช่น สวัสดีค่ะ สวัสดีครับ หรือ คำขอบคุณ และน้ำหวานก็ได้สอนให้เขาดัดนิ้วรำไทยด้วย น้ำหวานประทับใจครอบครัวนี้มากๆ ตื่นเต้นมากๆ ที่จะได้เห็นพวกเขาที่เมืองไทย น้ำหวานจะให้กสนต้อนรับอย่างดีที่สุด
ครอบครัวที่ 2
น้ำหวานได้มาอย฿กับครอบครัวของคุณMelcomซึ่งเขาได้ภรรยาเป้นคนไทยที่ชื่อว่าน้าทิพย์ และน้าทิพย์ก็มีลูกสาว 1 คนชื่อวา Ray บ้านของพวกเขาอยู่ห่างจากโรงเรียน Santa Barbara High ประมาณ 2-3 กิโลเมตร บ้านของเขามี 2ชั้น ซึ่งน้ำหวานได้นอนในห้องเดียวกับRay ไปตอนแรกๆ น้ำหวานก็รู้สึกหวาดอย฿เดหมือนกัน แต่ว่าพอไปอยู่ได้นานๆ น้ำหวานก็รู้เลยว่าเขาใจดีมากๆ น้ำหวานก็เลยอยู่กับครอบครัวนี้ด้วยความสบายใจ
Rayเรียนอยู่ที่ Santa Barbara High School เป็นโรงเรียนรัฐบาลที่มีนักเรียนมากมาย Ray อยู่ที่นี่ได้ 2 ปีแล้ว เรียนอยู่เกรด 9 อายุ 15 ปี Ray เป็นคนที่เรียนเก่ง หัวดี นิสัยของRayก็คือเป็นกันเองมากๆ และชวนเราคุยตลอดเวลา ทุกๆเช้า น้ำหวานก็จะขึ้นรถบัสไปโรงเรียนกับเขา โดยที่คุณ Melcomก็ไปด้วย เพราะว่า เค้าต้องไปทำงาน และขึ้นรถบัสสายเดียวกัน ค่ารถนั้น Ray ใช้บัตรส่วนลดสำหรับนักเรียน จึงถูกหน่อย ส่วนหลังเลิกเรียนนั้น พวกเราก็เดินกลับบ้าน แต่ว่าระยะทางก็ไกล แต่ว่าไม่เหนื่อยเลย เพราะว่าพวกเราคุยกันตลอดเวลา
อาหารเช้านั้น ก็จะเป็นขนมปัง หรือเราจะต้มมาม่ากินก็ได้ ส่วนอาหารกลางวันนั้น บางวันก็ห่อไป แต่ว่าบางวันก็ไปซื้อกินที่โรงอาหาร แต่ว่าส่วนใหญ่แล้วก็จะห่อมามากกว่า เพราะว่าอาหารที่โรงเรียนนั้นก็จะเป็นพวกพิซซ่า คุ้กกี้มากกว่า วันไหนที่น้ำหวานอยากทานพิซซ่า น้ำหวานก็ไปซื้อมากิน ส่วนตอนเย็นนั้น น้าทิพย์ก็จะทกให้กินที่บ้าน น้ำหวานได้กินอาหารไทยทุกวันเลย และน้ำหวานก็ชอบฝีมือการทำอาหารของน้าทิพย์มากๆ น้าทิพย์เป็นคนที่ตั้งอยู่ในศีลธรรม เวลาที่น้าทิพย์ว่าง ก็จะเข้ามาพูดคุยเกี่ยวกับพระพุทธศาสนากับน้ำหวาน เขาก็สอนเกี่ยวกับเรื่องราวของการดำเนินชีวิต ทำให้น้ำหวานได้รับความรู้ไปด้วย จะมีบางครั้งที่น้าทิพย์ให้น้ำหวานโทรกลับไปที่เมืองไทย
วันเสาร์สุดท้ายของการอยู่กับครอบครัวนี้ น้ำหวานก็ไปเที่ยวในเมืองกับRay พวกเราพากันเดินดุสินค้าและดูของที่ระลึกต่างๆด้วย และหลังจากนั้นก็ไปรับประทานอาหารที่ร้าน Panda Express ที่อาหารก็สพอาก อร่อย และราคาถูกด้วย หลังจากนั้น นพวกเราก็ไปดูหนังเรื่อง Blades of glory ซึ่ง Ray บอกว่าไม่ได้เข้าโรงหนังมานานมากแล้ว ตั้งแต่ที่อยู่ที่นี่มา ก็เข้าเพียงแค่ 1-2 ครั้งเท่านั้น ต่อจากนั้น เราก็ไปเดินดูสินค้าต่ออีกนิดและเราก็กลับไปบ้านกัน
Ray ก็จะมาเมืองไทยในวันที่ 6 มิถุนายนนี้ แต่ว่าบ้านของเขาอยู่ที่จังหวัดอุดรราชธานี ไกลจากอุตรดิตถ์มาก
พอวันอาทิตย์ พวกเราทั้งครอบครัวก็เดินทางไปที่วัดที่อยู่ที่Santa Barbara กัน เพราะว่าวันนี้เป็นวันสรงน้ำพระ 15 เมษายน พระที่วัดนี้ มีเพียง 2-3 รูปเท่านั้น แต่ว่าที่นี่เงียบมากๆ พวกเราก็ได้ไปตักบาตร สรงน้ำพระ และร่วมรับประทานอาหารด้วยกัน ซึ่งน้าบุษบาก็มารับน้ำหวานกลับที่วัดนี้ด้วยเช่นกัน น้ำหานชอบครอบครัวนี้มาก และไม่อยากจากพวกเขาเลย
ครอบครัวที่ 3
น้ำหวานได้มาอยู่ที่ Montecitoกับครอบครัวของคุณ John ซึ่งเป็นคนที่ขำขันและเป็นกันเองมากๆ มีคุณJenniferเป็นภรรยา และทั้งสองก็มีลูก 3 คน คือ ลูกสาวคนโต Meganซึ่งตอนนี้ก็เรียนอยู่ที่มหาวิทยาลัยใน LA ลูกสาวคนที่2 Rozyอายุ 17 ปีและน้องชายคนสุดท้อง Dylanอายุ 14 ปี ซึ่งน้ำหวานก็ไปโรงเรียนAnacapa กับ Rozy และDylan ซึ่งRozy ก็เป็นครนขับรถไปโรงเรียน เขาบอกว่าอายุ 16ปี ก็สามารถขับรถได้เองแล้ว บ้านของพวกเขาใหญ่โตมากๆ และมีรถยนต์หลายคันเลยทีเดียว และที่บ้านของเขาก็ยังคงมีเรือนศิลปะของคุณ Jennifer
ห้องนอนของน้ำหวานนั้นสะดวกสบายมากๆ มีคอมพิวเตอร์ส่วนตัว และมีห้องน้ำส่วนตัวด้วย และเตียงนอนของน้ำหวานนั้นก็เหมือนกับที่บ้านของGary และSandi คือ ซุกตัวเข้าไปใต้ผ้าห่ม
หลังบ้านของเขาก็จะเป็นสวน มีดอกไม้มากมายหลายชนิด และที่แปลกที่สุดก็คือ เขาเลี้ยงไก่ด้วย ไก่ที่นี่กับไก่ที่เมืองไทยก็คล้ายๆกัน แต่ว่า น้ำหวานไม่เห็นว่าไก่ที่นี่จะขันกันเลยซักตัว ระแวกบ้านของเขานั้นสงบดีมากๆ และ แต่ละบ้านนั้นก็จะอยู่แบบตัวใครตัวมัน Rozyและน้ำหวานชอบพาสุนัขออกไปเดินเที่ยว และบางครั้งก็ออกไปซื้อของให้กับแม่ของเขาที่ห้างสรรพสินค้าใกล้ และRozyก็เล่าให้ฟังว่าเวลาที่จะออกไปไหน ก็ไม่จำเป็นต้องล็อกบ้าน เพราะว่าถึงยังไงก็ไม่มีใครมาเอาอะไรไป เพราะว่าที่นี่ปลอดภัย แต่ว่าตอนกลางวันก็ต้องล็อกไว้ เพราะว่ากันไว้ดีกว่าแก้
อาหารเช้าของเขาก็จะมีขนมปัง ไข่ นม และกาแฟเท่านั้น เพราะว่าตอนเช้าเป็นช่วงเวลาที่เร่งด่วน จึงไม่มีใครที่จะมีเวลามาทำอาหาร แต่ว่าอาหารกลางวันนั้น น้ำหวานก็ออกไปรับประทานอาหารข้างนอกกับ Rozyและเพื่อนๆของเขา โรงเรียนนี้เล็ก และอยู่ในเมือง คุณครูจึงอนุญาตให้นักเรียนออกไปรับประทานอาหารข้างนอกได้ แต่ว่าบางคนก็ห่อข้าวมากินเอง พออาหารเย็นคุณJenniferก็จะทำอาหารให้กิน บางทีก็เป็นข้าวกับไก่อบ และบางครั้งก็พาออกไปรับประทานอาหารไทยข้างนอก และบางครั้งก็ไปกินพิซซ่าที่ร้านอาหารอิตาเลี่ยน พอกลับมาจากการรับประทานอาหาร พวกเราก็กลับมานั่งเล่นเกมส์การ์ด และเล่นมายากลต่างๆ Rozyได้ทำแผ่นซีดีเพลง และช่วยน้ำหวานในการทำ Myspace.comเพื่อติดต่อกับเขาและเพื่อนของเขาด้วย เพลงภาษาอังกฤษที่เขาทำให้นั้น น้ำหวานดีใจมาก แต่ว่าไม่สามารถมาเปิดที่เมืองไทยได้ น้ำหวานเสียดายมากๆ เพราะว่าอยากฟัง ครอบครัวนี้ดีกับน้ำหวานมากๆ และน้ำหวานก็ชอบครอบครัวของเขามากๆเช่นกัน น้ำหวานจะไม่มีวันลืมเลยครอบครัวที่ 4
ครอบครัวนี้น้ำหวานได้มาอยู่กับคนที่น้ำหวานสนิทที่สุด ก็คือ ครอบครัวของน้าแม็ค น้าบุษบาและเบญญาภา เพื่อนสนิทของน้ำหวานที่อายุ 14 ปี เบญญาภากับน้ำหวานรู้จักกันมาตั้งแต่เกิดแล้ว และเล่นกันมาตลอดเวลา และแล้ว น้ำหวานก็ได้กลับมาอยู่ที่ Santa Barbaraอีกครั้ง ด้วยความคิดถึงกลิ่นทะเล ไดสัมผัสอากาศแบบนี้เหมือนได้กลับบ้านยังไงก็ไม่รู้ น้ำหวาได้ไปเที่ยวที่Disneylandกับ น้าแม็ค น้าบุษบาและ เบญญาภาด้วย บ้านของน้าแม็คเป็นบ้านชั้นเดียว แต่ว่าขนาดนั้นก็พอเหมาะที่นี่ไม่นิยมปลูกบ้าน 2 ชั้น เพราว่าถ้าใครที่ปลูกบ้าน 2 ชั้น คนที่อยู่ชั้น 2 ก็จะสามารถมองเห็นการกระทำของคนที่อยู่ข้างล่างได้อย่างสบายๆ ซึ่งก็ไม่มีความเป็นส่วนตัว และหลังบ้านนั้น น้าบุษบาได้ปลูกดอกไม้ไว้หลายชนิด ซึ่งน้ำหวานก็ชอบไปดูมาก ดอกไม้ที่น้ำหวานชอบก็คือ ดอก California Poppyดอกสีส้ม ซึ่งเป็นดอกไม้ประจำรัฐนี้
น้ำหวานไปโรงเรียน Santa Barbara Middle กับเบญญาภาซึ่งใช้เวลาประมาณ 30 นาที กว่าจะถึงที่โรงเรียนของเบญ อาหารเช้านั้น บางวันก็รับประทานอาหารไทย แต่ว่าบางวันก็จะเป็นขนมปัง เนย นมมากกว่า ส่วนอาหารกลางวันนั้น น้าบุษบาเป็นคนห่อไปให้ ให้ไปรับประทานที่โรงเรียน พอกลับมาจากโรงเรียน ก็จะได้รับประทานอาหารไทย น้าแม็คได้พาเบญญาภาและน้ำหวานไปรับประทานอาหารเม็กซิกันด้วย อาหารที่น้ำหวานได้ลองทานนั้นก็คือ Burritosซึ่งเป็นอาหารที่ขึ้นชื่อของชาวเม็กซิกัน เป็นอาหารที่ทำมาจากข้าว ถั่วอละเนื้อสัตว์ เบญญาภาได้พาน้ำหวานไปเที่ยวในที่ต่างๆ เช่น พาไปดูหนังครั้งแรก พาไปเที่ยวและน้ำหวานก็ได้เหยียบพื้นมหาสมุทรเป็นครั้งแรกในชีวิตด้วย
น้ำหวานได้นอนที่ห้องของเบญญาภา และเวลาที่เราจะนอนนั้น ก็จะแกล้งกันตลอด และเราก็พูดถึงเรื่องราวที่เกิดขึ้นในวัยเด็ก ทำให้น้ำหวานเดกิดความรู้สึกที่ว่ารักที่นี่เพิ่มมากขึ้น น้าแม็คได้พาพวกเราไปเที่ยวดูSanta Barbara City College ด้วย ทิวทัศน์ของที่นี่สวยงามมากๆ และน้ำหวานก็ชอบที่นี่มากๆเช่นกัน และพาน้ำหวานไปดูโรงเรียนเก่าของเบญก็คือ โรงเรียนวอชิงตัน และพาพวกเราไปลองชิมน้ำผลไม้ปั่นที่อร่อย ที่ร้าน Blander ซึ่งก็อร่อยอย่างที่เขาว่ากันจริง น้ำหวานอยู่กับครอบครัวนี้จนถึงวันที่น้ำหวานกลับเลย เพราะว่า น้าแม็ค น้าบุษบาและเบญญาภาเป็นคนที่ไปส่งน้ำหวานที่สนามบิน LAXด้วย
จากทั้งหมด 4 ครอบครัวที่น้ำหวานไปอยู่ด้วยนั้น ก็ได้ใช้ชีวิตที่แตกต่างกัน แต่ว่าทุกครอบครัวก็มีวิถีชีวิตและความสัมพันธ์ในครอบครัวที่เหมือนกัน ก็คือ พ่อ แม่ ลูก มีความอบุ่น และพวกเขาก็ใช้ชีวิตและทำกิจกรรมร่วมกันบ่อยกว่าที่ครอบครัวของประเทศไทย ถึงแม้ว่าเขาจะมีงานมากเพียงไหน แต่ว่าพวกเขาก็ยังคงมีเวลาที่จะดูแลลูกๆของเขาอยู่ จึงทำให้ลูกๆของเขานั้นได้รับแต่สิ่งที่ดีๆ และเป็นคนดีด้วยโรงเรียน
1. Cate School
โรงเรียนนี้เป็นโรงเรียนเอกชนที่ติด 1ใน 10 โรงเรียนที่แพงที่สุดในประเทศนี้ โรงเรียนนี้ตั้งอยู่ที่ Capinteria และบ้านของ Gary Sandi Cydney และMorganก็อยู่ในโรงเรียนนี้ด้วย เพราะฉะนั้นเวลาที่น้ำหวานเดินทางไปดรงเรียน น้ำวหานก็เดินไปโรงเรียนกับ Sandi ทุกวันโรงเรียนนี้อยู่ห่างจากตัวเมืองพอสมควร และสภาพภูมิประเทศก็ดีมาก เพราะว่ารอบๆโรงเรียนนี้ก็จะมีภูเขาล้อมรอบ ไม่มีผู้คนพลุกพล่าน จึงเหมาะสำหรับเป็นสถานที่เรียนอย่างมาก โรงเรียนนี้มีทั้งชายและหญิง ไม่เรียนแยกเหมือนที่โรเรียนของน้ำหวานที่มีแต่นักเรียนหญิง เริ่มตั้งแต่เกรด 8-12 โรงเรียนนี้มีนักเรียนหลายเชื้อชาติ หลายประเทศ ต่างก็พากันมาเรียนที่นี่ เพราะว่าการเรียนการสอนของโรงเรียนนี้เข้มงวด และนักเรียนก็มีคุณภาพมากๆด้วย
โรงเรียนนี้เป็นโรงเรียนกินนอน ที่มีนักเรียนประมาณ 100 กว่าคน ดังนั้นจึงมีนักเรียนแต่ละห้องเรียนไม่มากนัก เช่นห้องเรียนวิชาคณิตศาสตร์ก้จะมีนักเรียนเพียง 10 กว่าคนเท่าน้น และวิชาภาษาญี่ปุ่นมีเพียง 3 คนเท่านั้น การเรียนการสอนที่นี่ใช้สื่อที่ทันสมัย เช่นการเรียนวิชาคณิตศษสตร์ นักเรียนทุกคนก็จะต้องมีเครื่องคิดเลขส่วนตัว และของคุณครูนั้นก็จะมีเครื่องคิดเลขขนาดใหญ่ ตั้งอยู่บนกระดาน และสามารถใช้มือสัมผัสเพื่อกดปุ่มสำหรับอาหารนั้น ทุกๆมื้อนักเรียนก็จะกินที่โรงอาหาร โดยทางโรงเรียนได้จัดให้ทั้งมื้อเช้า กลางวัน และมื้อเย็น อาหารก็มีหลายชนิดให้เราเลือกรับประทานได้ แต่ว่าที่นี่ไม่มีน้ำอัดลม ไม่มีอาหารขยะเลย เพราะฉะนั้นจึงมั่นใจได้เลยว่าร่างกายจะแข็งแรงนักเรียนที่นี่ตรงเวลามากๆ เมื่อสัญญานกริ่งดังขึ้น ก็แสดงว่าหมดคาบแล้ว นักเรียนทุกคนก็จะรีบออกจากห้องแล้วรีบไปเรียนวิชาต่อไปทันที และระหว่างที่เรียนอยู่มนห้องนั้น นักเรียนทุกคนก็จะตั้งใจเรียนมากๆ เมื่อมีอะไรที่ไม่เข้าใจ เขาก็จะยกมือถามทันที และนักเรียนทุกคนก็กล้าแสดงออกด้วย ดังนั้นนักเรียนที่นี่จึงเป็นคนเก่งและพวกเขาก็จะไม่ได้เรียนอยู่ในห้องเดียวกันทุกวิชา แต่จะเปลี่ยนไปเรียนตามวิชาที่ตนเองชอบและได้เลือกไว้ ดังนั้น นักเรียนที่นี่จึงรู้จักกันแทขบทั่วทั้งโรงเรียนมีนักเรียนจากCate School 4 คนที่เคยนเดินทางไปประเทศไทย กับโครงการ InsideThailand มาก่อนเมื่อปี 2006 นั้นก็คือ Rachael อายุ 18 ปี ซึ่งเขาก็คอยดูแลน้ำหวานเมื่อตอนที่น้ำหวานไปร่วมเรียนในชั้นเรียนกับเขาด้วย Dana น้องชายของหล่อน อายุ 14 ปี Sam อายุ 16 ปี และ Trevor อายุ 14ปี น้ำหวานก็ได้เจอ และทักทายับพวกเขาด้วยที่โรงเรียนนี้เขาจะมีการประชุมระหว่างครูและนักเรียนบ่อยๆเพื่อเป็นการพบปะและพูดคุยกัน ซึ่งก้เป็นการดีที่จะได้ให้นักเรียนได้ออกไปแสดงความคิดเห็นซึ่งระหว่างที่เขากำลังประชุมกันน ทุกคนก็เงียบมาก เงียบโดยที่ไม่ต้องให้ใครมาสั่งเลยและเมื่อจบการประชุมพวกเขาก็จะเดินออกไปเป็นแถวอย่างเป็นระเบียบเรียบร้อย
2. Santa Barbara High School
โรงเรียนนี้เป็นโรงเรียนรัฐบาล มีรนักเรียนประมาณ 3000 คน ตั้งอยู่ที่ santa Barbarar น้ำหวานมาโรงเรียนนี้กับ Ray ครอบครัวที่ 2 ของน้ำหวาน โรงเรียนนี้เป็นโรงเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมปลาย มีเนื้อที่กว้างขวาง และมีนักเรียนหลายชาติเช่น อเมริกัน เม็กซิกันเป็นต้น
นักเรียนแต่ละห้องเรียนก็จะมีประมาณ 30-40 คน ซึ่งเหมือนกับโรงเรียนของน้ำหวาน น้ำหวานได้เข้าไปเรียนกับ Ray ซึ่งอยู่เกรด 9 ทุกๆเช้า Ray ก็จะมีเรียนวิชาพละศึกษาแต่ละวันนั้น การเรียนพละ ก็จะมีกีฬาที่แตกต่างกันไป เช่น วันจันทร์เล่นเทนนิส วันอังคารเล่นบาสเกตบอลเป็นต้นเมื่อเรียนวิชาพละเสร็จแล้ว ต่อจากนั้นก็ไปเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ มีนักเรียนในชั้นเรียนประมาณ 30 คน จากนั้นก็ไปเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ซึ่งRayทำคะแนนได้มากที่สุดในห้อง คุณครูก็ใจดี ได้ให้น้ำหวานร่วมเรียนวิชานี้ด้วย จากนั้นก็ไปเรียนวิชาเพศศึกษา จริงๆแล้ววิชานี้ ต้องได้รับการอนุญาตจากผุ้ปกครองเสียก่อน จึงจะสามารถเรียนได้ แต่ว่าคุณครูของวิชานี้ก็ให้น้ำหวานร่วมเรียนด้วย หลังจากนั้นก็ได้เวลารับประทานอาหารกลางวัน ซึ่งบางวันน้ำหวานก็ห่อมารับประทานเอง แต่ว่าบางวันก็ไปซื้อจากโรงอาหารมารับประทานเองเช่น พิซซ่า คุ้กกี้ เวลาพักกลางวันนั้นให้เวลาเพียง 40 นาทีเท่านั้น หลังจากที่กริ่งดัง นักเรียนทุกคนต้องไปเรียนต่อ น้ำหวานได้ไปเรียนวิชาศิลปะการวาดภาพเป็นวิชาที่น้ำหวานชอบมากที่สุด ส่วนคาบสุดท้ายน้ำวหานก็ไปเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ต่อจากนั้น ก็เดินกลับบ้านกับ Ray คาบเรียนแต่ละวันของหล่อนนั้น จะเหมือนกันทุกอย่าง แต่ว่าจะมีวันพุธ พฤหัสบดี และวันศุกร์ที่ต้องเรียนตั้งแต่ 7.00 เพื่อเรียนวิชาภาษาอังกฤษกับ Mrs.Ficher และ Mrs.Ficherก็เป็นครูที่คอยช่วยเหลือน้ำวหานด้วย เขาได้พาน้ำหวานไปดูการแสดงดนตรีของวงออเคสตร้าที่มาจากมหาวิทยาลัย และได้มาแสดงที่โรงเรียนนี้ ทำให้น้ำหวานได้ดูอะไรที่ไม่เคยเห็นมาก่อนเลยในชีวิต
โรงเรียนนี้มีสิ่งที่ทำให้น้ำหวานแปลกใจมากๆ ก็คือ เขาอนุญาตให้นักเรียนที่ท้องหรือมีลูกแล้ว สามารถมาเรียนได้ ไม่มีการกีดกันและมีสถานที่สำหรับฝากลูกที่ตอนเช้าก้ให้นักเรียนหญิงั้เป็นแม่ พาลูกมาฝากที่นี่ และไปเรียน เมื่อถึงเวลาตแอนเย็นก็กลับมารับลูก ถ่าเป็นเมืองไทย ก้คงจะต้องออกจากการเรียนแล้ว แต่ที่นี่เขาให้สิทธิเสรีภาพแก่นักเรียน แต่น้ำหวานคิดว่าถ้าเรารู้จักแยกแยะว่าอะไรที่ควรทำหรือไม่ควรทำ เราก็อาจจะไม่มีปัญหาเกิดขึ้นในระหว่างที่เรากำลังเรียนอยู่ เช่น ปัญหาการตั้งท้อง การมีลูก ถ้าเรามีลูกโดยที่กำลังเรียนอยู่ ผลกระทบที่ตามาก็อาจจะต้องออกจากการเรียนและต้องออกไปหาเงินเพื่อมาเลี้ยงลูก ทำให้เราเสียโอกาสดีๆที่เราควรจะได้รับในอนาคต สีของโรงเรียนนี้ก็จะเป็นสีขาว –เขียว นักดเรียนที่นี่ตรงเวลามาก เมื่อหมดคาบแล้ว นักเรียนก็จะรีบลุก เพื่อไปเรียนวิชาต่อไปทันที และนักเรียนก็ตั้งใจเรียนมากๆด้วย ห้องสมุดของโรงเรียนกำลังเปลี่ยนแปลงอยู่ มีขนาดเล็กแต่ว่านักเรียนก็ชอบที่จะเข้าห้องสมุดด้วย
3. Anacapa School
โรงเรียนนี้เป้นโรงเรียนเอกชน ที่มีนักเรียนเพียง 60 กว่าคนเท่านั้น โรงเรียนนี้ตั้งอยู่ในตัวเมืองของ Santa Barbara มีนักเรียนตั้งแต่เกรด 7-12 ที่ดรงเรียนนี้มีครูเพียง 10 กว่าท่านเท่านั้น ทั้งครูและนักเรียนต่างก็คุ้นเคยและสนิทกันเป็นอย่างดี น้ำหวานได้มาโรงเรียนกับ Rozy และDylan ซึ่งน้ำหวานได้เข้าไปเรียนกับ Rozyที่อายุรุ้นราวคราวเดียวกับน้ำหวาน ในแตละวันนั้นก็จะเรียนเพียง 3-4 วิชาเท่านั้น และจะไม่ซ้ำกันเลยในแต่ละวัน ก่อนที่พวกเราจะเข้าเรียนคาบแรกนั้นก็จะมีการประชุมทุกเช้าเปิโอกาศให้ครูและนักเรีนยได้มาพบปะและพูดคุยกัน ให้นักเรียนได้มีโอกาสแสดงความคิดเห็น แล้วแต่ว่าใครอยากจะพูดเรื่องอะไร เช่น วันนี้คาบแรกเรียนวิชาประวัติศาสตร์ คาบที่ 2 เรียนวิชาคณิตศาสตร์ คาบที่3 เรียนฟิสิกส์ และคาบที่ 4 เรีนวิชาภาษาอิตาเลี่ยน และจะเปลี่ยนกันในแต่ละวัน เมื่อถึงเวลาพักกลางวันแล้ว นักเรียนแทบทุกคนก็จะเดินออกจากโรงเรียนเพื่อไปซื้ออาหารกินข้างนอก แต่บางคนก็ห่อข้าวมารับประทานเอง ส่วนน้ำหวานก็ออกไปรับประทานอาหารข้างนอกกับ Rozy และเพื่อนๆของเขา ที่นี่น้ำหวานมีเพื่อนมากมาย เช่น Rachel , Victoria , Lily , Heather Jogdan ,Trevor and Simon ซึ่งพวกเขาก็ชอบซักถามเกี่ยวกับประเทศไทย ซึ่งน้ำหวานก็ชอบที่จะตอบคำถามของเขา เพราจะๆได้ถือโอกาสเผยแพร่ประเทศไปด้วย หลังจากที่รับประทานอาหารกลางวันเสร็จแล้ว นักเรียนทุกคนก็ต้องกลับมาเรียนต่อในภาคบ่าย แต่ว่าภาคบ่ายนั้น นักเรียนทุกคนก็จะไม่ได้เรียน แต่จะไปทำกิจกรรมที่ตนเองชื่นชอบเช่น การเล่นกีฬา การเล่นดนตรี การจัดทำหนังสือของโรงเรียน และที่น้ำหวานชอบทำมากที่สุดก็คือ การปั้นเซรามิกและการปั้นดินน้ำมัน น้ำหวานได้ปั้นกระบือไทยและช้างไทยให้พวกเขาดดู พวกนักเรียนตื่นเต้นมากๆและชมว่าปั้นได้สวย แต่ว่าความจริงแล้ว น้ำหวานแทบจะไม่ได้ปั้นดินน้ำมันเท่าไหร่เลย และมีบางวันที่น้ำหวานได้เข้าเรียนวิชาภาษาอิตาเลี่ยนด้วย แต่เป็นภาค ปฎิบัติคือ การทำอาหารอิตาเลี่ยน ที่นำแป้งมาผสมกับมันฝรั่งบด และนำไปปั้น ต่อจากนั้นก็นำไปต้ม และนำมาคลุกเคล้ากับซอสมะเขือเทศ ซึ่งน้ำหวานคิดว่ามันอร่อยมากๆ และน้ำหวานก็ได้ดูละครอิตาเลี่ยนที่พากย์เป็นภาษาอังกฤษด้วยเช่นกันน้ำหวานชอบโรงเรียนนี้มากๆ เพราะว่าได้ให้มิตรภาพที่ดีกับน้ำหวานและทุกคนก็ชอบใจที่จะได้เล่นกับน้ำหวานด้วย
4. Santa Barbara Middle School
โรงเรียนนี้เป็นโรงเรียนเอกชนที่มีนักเรียนประมาณ 100 กว่าคนตั้งแต่เกรด 6-9 และเบญญาภาก็เรียนที่โรงเรียนนี้ด้วย น้ำหวานมาโรงเรียนกับเบญญาภาโดยที่น้าแม็คขับรถมาส่ง ระยะทางจากบ้านถึงโรงเรียนก็ใช้เวลาประมาณ 30 นาที เบญญาภาตอนนี้เรียนอยู่เกรด 8แล้ว การเรียนการสอนก้คล้ายๆกับโรงเรียนแต่ละโรงเรียนที่น้ำหวานไป แต่งว่าโงเรียนนี้ดีที่ว่คุณครูกับนักเรียนสามารถพูดคุยกันได้เหมือนเพื่อนคือ ปกตืเวลาที่นักเรียนเรียกครู ต้องมีคำว่า Mr. , Mrs. , Ms.และตามด้วยนามสกุล แต่ว่าที่โรงเรียนนี้ สามารถเรียกชื่อครูได้เลย และบางครั้งครูกับนักเรียนก็สามารถออกไปทำกิจกรรมร่วมกันได้เช่น ออกไปรับปะทานอาหารข้างนอกกับคุณครูหรือ น้ำหวานและเบญญาภาได้ออกไปเดินเล่นและพูดคุยกับครูจอร์น ซึ่งเป็นครูสอนวิชาสังคมของชั้นเกรด 7 ครูจอร์นใจดีมากๆ และตัวสูงมากๆด้วย ทุกคนต่างตื่นเต้นและดีใจที่ได้เห็นน้ำหวาน เพราะว่าเบญญาภาได้บอกล่วงหน้าแล้วว่า น้ำหวานจะมาที่นี่ และมีการแสดงให้พวกเค้าดูด้วย พวกเขาก็ยิ่งตื่นเต้นกันไปใหญ่ น้ำหวานได้รู้จักกับเพื่อนของเบญหลายคนเช่น โซฟั เครช ไมกา แดเนียล แคนเดิ้ล จอร์แดน ซูซี่ และวิลล่า และโซฟีก็จะมาเมืองไทยพร้อมกับเบญในปีนี้ด้วย โรงเรียนนี้จะเริ่งตั้งแต่ 8.3-15.00 เบญญาภาเป้นคนที่เรียนเก่งทุ่ดในห้อง เด็กๆที่นี่เมื่อมีอะไรที่สงสัยก็จะยกมือขึ้นถามคุณครูทันทีช่วงเช้าเมื่อเรียนไปได้ซัก 2 วิชาก็จะเป็นเวลาพักของนักเรียน เบญจึงพาน้ำหวานไปซื้อคูปอง และนำมาซื้ออาหารหรือของว่าง หลังจากนั้นก็ไปเรียนอีก 2 วิชาและพักกลางวัน เบญญาภาและน้ำหวานก็ห่อข้าวมาจากที่บ้าน หลังจากนั้นตอนบ้ายก็เรียนอีก 1 วิชา จากนั้นก้เป็นวิชา Study Hall คือเป็นเวลาว่าง ที่ให้นักเรียนทำการบาน และหลังจากหมดคาบนี้แล้ว ต่อไปก็เล่นกีฬา กีฬานั้นเราสามารถเลือกได้ว่าจะเล่นอะไรก็ได้ดังนั้นน้ำวหานจึงไปเล่น Kick Ballกับเบญญาภา และเพื่อนๆ สำหรับการเล่นนันก้เล่นหมือนเบสบอล แต่ก็ใช้ลูกบอลเตะแทน แต่ว่าวันศุกร์ พวกเราก็ออกไปเล่นเทนนิสที่ Santa Barbara City College ซึ่งน้ำหวานก็ไม่เคยเล่นมาก่อนเลยในชีวิตพอได้เล่นก็รู้สึกตื่นเต้นและสนุกมากๆ ทางโรงเรียนได้จัดให้นักเรียนที่อยู่เกรด 8 ได้ออกไปทัศนศึกษาที่ Holly wood , LA ไปศึกษาพิพิธภัฯฑ์ Houses of blues ซึ่งเป็นพิพิธภัณฑ์ที่แสดงเกี่ยวกับเรื่องราวของดนตรี เมื่อไปถึงแล้ว ไกด์ก็ได้แนะนำ ให้รู้จักกับส่วนต่างๆของที่นี่ น้ำหวานชอบมากๆ และที่น้ำหวานชอบมากที่สุดก์คือ การสาธิตการแสดงดนตรีของแต่ละยุคสมัย ซึ่งเขาก็ใช้เครื่องดนตรีแสดงให้ดูจริงๆ น้ำหวานชอบมากๆ และหลงรักในดนตรีของ USAซะแล้วต่อมาวันศุกร์ วันสุดท้ายของการได้อยู่ที่โรงเรียนนี้ น้ำหวานและเบญญาภาก็ได้แสดงการรำไทยให้กับพวกเขาดู คุณครูและนักเรียนทุกคนตื่นเต้นมากๆที่จะได้ดูการแสดงรำไทย เพราะว่าเขาไม่เคยเห็นกันมาก่อนเลย น้ำหวานชอบโรงเรียนนี้มากๆ เพราว่าคุณครูทุกคนเรียกชื่อน้ำหวานได้ ปกติแล้วชื่อของน้ำหวานออกเสียงยาก ไม่ค่อยมีคนอยากเรียกเท่าไหร่ แต่ครั้งนี้ครูเขาเรียกชื่อน้ำหวานได้ถูกต้อง ทำให้น้ำหวานปลื้มใจมากๆ
เที่ยวแฟร์
วันศุกร์สุดท้ายของการที่ได้อยู่ที่ Santa Barbara Middle School นั้น น้ำหวานและเบญญาภาก็ได้ไปเที่ยวงานเครื่องเล่นต่างๆก่อนไปนั้นเราก็ได้เตรียมตัว และเตรียมความตื่นเต้นไว้อย่างดี เพราะว่าเราได้เห็นตัวอย่างมาแล้ว และได้เปดดูที่อินเตอร์เน็ตด้วย ก็รู้สึกตื่นเต้นมากๆ ก่อนที่เราจะเล่นเครื่องเล่นนั้น เราก็ต้องเอาตั๋วให้เขาดูก่อน และเขาก็จะให้สายรัดข้อมือเรามา สายรัดอันนี้ถอดออกได้ยากมากๆ เพราว่าขนาดน้ำหวานจะฉีกออกเพราว่าน้ำหวานจะอาบน้ำ ก็ยังถอดได้ยากมากๆ เพราว่าเขาทำมาเพื่อกันการหลุด คณะที่มาให้บริการนี้ เขาท่องเที่ยวไปทั่ว และทุกๆปีเขาก็จะมาที่นี่ ซึ่งก็จะมีคนเยอะทุกๆปีเมื่อเราไปถึงได้เล่นชิงช้าสวรรค์และอื่นๆอีกมากมาย เราไปตั้งแต่ 18.30 และกลับบ้านเมื่อเวลา 22.00 ด้วย ซึ่งเป็นเวลาที่งานเลิกพอดี เสียเงินไปแล้วทั้งที ก็ต้องเล่นให้คุ้มค่า ที่งานนั้น เราได้เจอกับเพื่อนของเบญญาภาด้วย เช่น แดเนียลกับจอร์แดนซึ่งเป็นฝาแฝดกัน และได้เจอกับโซฟีด้วย และพวกเราก้เลยชวนโซฟีไปเล่นกับเราด้วย ซึ่งก็สนุกสนานมากๆ เบญญาภาไม่ค่อยชอบเล่นอะไรที่มันสูงและตื่นเต้นเท่าไรหร่นัก เพราฉะนั้นเราก็เลยไปเล่นเครื่องเล่นของเด็กแทน
Disneyland
น้ำหวานได้ไปที่Disneylandเมื่อวันที่ 21 เมษายน 2550 กับบ้าแม็ค น้าบุษบาและเบญญาภา ซึ่งDisneylandนั้นตั้งอยู่ใน Los Angeles เราเริ่มออกเดินทางกันตั้งแต่ 8.30น. ตอนนั้นน้ำหวานตื่นเต้นมากๆ เพราะว่าไม่เคยเห้นมาก่อน และเขาก็บอกกันว่า ที่นี่นั้นมีแต่คนที่อยากมาก่อนไปนั้น น้ำหวานคิดว่าคงได้เจอกับเหล่าตัวการ์ตูนจากภาพยนตร์ต่างๆที่น้ำหวานเคยได้ดูเช่น เจ้าหญิงนิทรา Toy Story และอื่นๆอีกมากมาย แค่คิดก็ตื่นเต้นแล้ว ที่LAนั้น อากาศค่อนข้างร้อน เพราะว่าอยู่ในเขตที่มีแต่คนอาศัยอยู่เยอะ น้ำหวานก็ไม่ได้เตรียมเสื้อแขนยาวบางๆไป ตลอดการเดินทางไปที่Disneylandนั้น น้ำหวานตื่นเต้นมากๆ และร้องเพลงไปตลอดทาง การเดินทางก็ใช้เวลาประมาณ 3-4ชั่วโมง ในช่วงเช้านั้น รถค่อนข้างติด เพราะว่าทุกคนก็ต้องออกไปทำงาน
และแล้วน้ำหวานก็มาถึงDisneyland ก่อนที่จะเข้าไปยังอาคารที่จอดรถนั้น ทั้งสองข้างทางของเมืองDisneylandก็เต็มไปด้วยโรงแรมสำหรับนักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวที่นี่ และต้องการที่จะเข้าพัก เพื่อวันพรุ่งนี้จะได้กลับมาเล่นต่อ แต่น้ำหวานคิดว่ามันต้องแพงมากๆอย่างแน่นอน เมื่อมาถึง ก็ต้องขับรถเข้าไปยังอาคารจอดรถ แต่ว่ารอคิวยาวมาก นี่ขนาดจอดรถ ยังต้องรอคิวยาวขนาดนี้ ถ้าเข้าไปแล้วคนจะเยอะมากแค่ไหน ค่าจอดรถก็ประมาณ 11 ดอลล่าร์ ซึ่งเท่ากับ 300กว่าบาทของเมืองไทย เมื่อได้จ่ายเงินแล้วก็ขับรถเข้าไปข้างใน เพื่อหาที่จอดรถ ซึ่งอาคารที่จอดรถนั้นก็มีหลายอาคาร และแต่ละอาคารก็มีหลายชั้น และสถานที่ที่ต้องไปต้องไปก็คือ สถานที่สำหรับรอรถบัส ซึ่งลูกค้าทุกคนจ้องมาขึ้นรถที่นี่ เพื่อเดินทางไปสู่เมือง Disneyland ใช้เวลานานมากๆกว่าจะถึงคิวของเรา เพราะว่าวันนี้เป็นวันเสาร์ คนจึงเยอะ รถที่เขาจัดให้ลูกค้าขึ้นนั้น ก็เป็นรถที่เปิดโล่ง แต่ว่าระยะทางนั้น ก็ไม่ไกลเท่าไหร่ แต่ว่าถ้าเดินไปก็เหนื่อยเหมือนกัน
เมื่อนั่งรถไปถึงแล้ว สถานที่แรกที่เราไปกันก็คือเข้าไปนั่งเรือ และต่อจากนั้นเรือก็จะพาเราเข้าไปในอุโมงค์ ก็จะมีต๊กตาหลายร้อยหลายพันตัวที่รวมพลกันมาทำการแสดงต่างๆเช่น ร้องเพลง เต้น รำและที่น้ำหวานชอบมากที่สุดก็คือการแสดงของเหล่าตัวละครต่างๆที่สวมชุดประจำชาติของแต่ละชาติและเต้นรำกันไปรอบๆ น้ำหกวานรู้สึกตื่นเต้นมากๆที่ได้เห็นตุ๊กตาใส่ชุดไทย จากนั้นเรือก็พาเราออกมาจากอุโมงค์ แล้วพวกเราก็เดินไปรอบๆ ที่ Disneyland นี้ แบ่งออกเป็น 2 ซีก ที่น้ำหวานมานี้ เป็นเพียงแค่ซีกเดียวเท่านั้น ต่อจากนั้น พวกเราก็ไปขึ้นรถไฟเหาะ ซึ่งน้าแม็คนั่งกับน้าบุษบา ส่วนเบญญาภาก็นั่งกับน้ำหวาน ตอนแรกนั้นน้ำหวานรู้สึกตื่นเต้นมากๆ เพราะว่าไม่เคยนั่งรถไฟเหาะมาก่อนเลยในชีวิต เมื่อรถไฟเริ่มเคลื่อนที่ น้ำหวานกับเบญญาภาก็นั่งตัวติดกันเลย แต่เมื่อเวลาผ่านไป น้ำหวานก็รู้สึกสนุกกับมันมากๆ เพราะว่ามันสุดเหวี่ยง และน่าตื่นเต้น ต่อจากนั้นก็ไปดูเมือง Tomorrow landเป็นเมืองเกี่ยวกับอนาคตทั้งหมด ในนี้ น้ำหวานชอบเครื่องทนายลักษณะใบหน้าในอนาคตมากที่สุด คือเราต้องยื่นคางไปวางไว้ยังที่ที่เขาสั่ง และเราก็กดปุ่มตามคำสั่งที่เขาบอก และเครื่องก็จะประมูลผลออกมาว่า ในอีก 50 ปีข้างหน้านั้น ใบหน้าของเราจะเป็นอย่างไร น้ำหวานได้เห็นหน้าของตัวเองแล้วก็รู้สึกตลกมากๆ เพราะว่ามันน่าเกลียดจริงๆ ต่อมาน้ำหวานก็เขาไปยังดินแดนแห่งจักรวาลของบัสไลเยียร์ ตัวละครจากToy story น้ำหวานชอบมันมากๆ เพราะว่ามันเหมือนเป็นฮีโร่ของน้ำหวานเลยทีเดียว
พอเวลาประมาณบ่าย 3 ก็จะมีขบวนพาเหรดของเหล่าตัวการ์ตูนจากภาพยนตร์การ์ตูนของDisney เช่น มิกกี้เม่าท์ มินนี่ ,เจ้าหญิงนิทา,โฉมงามกับเจ้าชายอสูร,ปีเตอร์แพน,นางเงือกน้อย และสโนว์ไวท์เป็นต้น น้ำหวานตื่นเต้นมากๆ เพราะว่าทุกคนดูสวยงามและขบวนก็ยิ่งใหญ่ น้ำหวานถ่ายรูปไว้มากมาย
หลังจากที่ดูพาเหรดแล้ว เราก็ได้ไปที่พิพิธภัณฑ์ที่อสดงเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของDisneyland ทำให้น้ำหวานรู้ว่ากว่าจะมีDisneylandนั้น มันใช้เวลานานแค่ไหน และหลังจากนั้น เราก็ไปนั่งรถไฟ เที่ยวชมรอบๆ พอเวลาประมาณ 18.30 ก็จะมีขบวนพาเหรดอีกครั้งหนึ่ง และน้ำหวานก็เดินออกจากDisneyland แต่ว่าเราต้องมารอรถบัสเพื่อกลับไปยังอาคารจอดรดอีกครั้ง แต่ว่าน้ำหวานก็ต้องหันหลังกลับมาดูอีกครั้ง เพราะว่าน้ำหวานไม่อยากจากไปเลย และน้ำหวานก็คิดว่าน้ำหวานจะกลับมาที่นี่ให้ได้
บทส่งท้าย
ทุกช่วงเวลา ทุกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงเดือนเมษายนนี้ เป็นเวลาที่น้ำหวานได้มีโอกาสเดินทางไปศึกษาและแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมที่ Santa Barbara , California ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยน้ำหวานคงไม่มีโอกาสนี้อย่างแน่นอน ถ้าน้ำหวานไม่รู้จักกับโครงการ InsideThailand ที่มีน้าแมคและน้าบุษบา เป็นผู้ที่คอยช่วยเหลือน้ำหวานในทุกๆด้านและถ้าไม่มีCoco ซึ่งเป็นผู้ที่เดินทางมาประเทศไทยพร้อมกับโครงการ Inside Thailand เมื่อหลายๆปีก่อน น้ำหวานก็คงไม่มีโอกาสมาเยือนที่ประเทศสหรัฐอเมริกา เพราCocoเป็นผู้ให้ทุนการศึกษากับน้ำหวาน ให้ไปเรียนที่โรงเรียนอุตรดิตถ์ดรุณี ซึ่งเป็นโรงเรียนประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ ทำให้น้ำหวานได้เรียนภาษาอังกฤษกับครูที่ดีๆ และแน่นอนว่าโครงการInside Thai landก็ได้แนะนำให้น้ำหวานรู้จักกับสโมสรโรตารี่กรุงเทพใต้ ผู้ที่ซึ่งให้โอกาสน้ำหวานไปที่ USA ถ้าไม่มีสโมสรโรตารี่นี้ น้ำหวานก็คงจะไม่ได้รับโอกาสดีๆ แบบนี้แน่นอน และขอขอบพระคุณ Mr.Tom ที่คอยช่วยเหลือน้ำหวานในเรื่องการดำเนินธุระต่างๆ คุณทอมเป็นคนที่ใจดีมากๆ และน้ำหวานก็ซาบซึ้งในน้ำใจของคุณทอมด้วย
ขอขอบคุณครอบครัวที่น่ารักของ Gary Sandi Cydney and Morgan ที่คอยช่วยเหลือดูแลน้ำหวาน ทำให้น้ำหวานนั้นได้ปะสบการณ์ใหม่ และได้ทำในสิ่งที่น้ำหวานไม่เคยทำมาก่อนในชีวิตเลย เช่น การเล่นซอฟบอล การรับประทานอาหารที่ร้านอาหารญี่ปุ่น ร้านอาหารจีน ครั้งแรกกับแฮมเบอร์เกอร์ ครั้งแรกกับการโยนโบล์ลิ่ง และขอบคุณสำหรับการ์ดใบสวยและเสื้อที่น่ารักที่สุด ขอบคุณสำหรับความห่วงใยและความเป็นมิตรที่คุณได้มอบให้กับน้ำหวาน นอกจากนั้นคุณก็ยังได้สอนให้น้ำหวานเล่นเกมส์การ์ด ได้รู้จักกับกีฬาหลายๆชนิด และได้ออกไปข้างนอกบ่อยๆ น้ำหวานไม่เคยลืมเรื่องราวและประสบการณ์ที่ได้รับจากคุณเลย คุณทำให้น้ำหว่านได้รับคว่ามสุข
ครอบครัวที่แสนดีของคุณ Melcom น้าทิพย์ และ Ray น้องสาวที่น่ารัก ขอบคถุณสำหรับมิตรภาพลปะความีเมตตาของคุณ น้ำหวานชอบที่ได้อยู่บ้านของคุณมากๆ และน้ำหวานก้ชอบอาหารไทยฝีมือของน้าทิพย์มากๆ ขอบคุณสำหรับหการสอนให้น้ำหวานได้ขึ้นรถบัส ได้ดำเนินชีวิตแบบคนเดินดินธรรมดา คุณ Melcomและนย่าทิพย์ใจดีมากๆ เป็นกันเอง และใจดีกับน้ำหวาน น้ำหวานจะเก็บไว้เป้นความทรงจำที่ดีตลอดไป
ขอบคุณครอบครัวที่แสนสนุกของคุณ John คุณ Jennifer พี่ Megan , Rozyและ Dylanที่ให้น้ำหวาได้พักอาศัยอยู่กับครอบครัวของคุณ น้ำหวานดีใจมากๆ ที่ได้อยู่กับคุณ เพราะว่าคุณเป็นคนที่ร่าเริง เป็นครอบครัวที่อบอุ่น มีน้ำใจ และร่าเริงอยู่ตลอดเวลา ขอบคุณสำหรับการไปรับประทานอาหารไทยที่ร้านอาหารไทย และพิซซ่าที่ร้านอาหารอิตาเลี่ยน ขอบคุณสำหรับการเล่นเกมส์การ์ดและการเล่นมายากล และขอบคุณสำหรับซีดีเพลงภาษาอังกฤษ น้ำหวานชอบมันมากๆ น้ำหวานอยู่กับคุณแล้วน้ำหวานได้รับความสุข ขอบคุณมากๆสำหรับทุกๆอย่าง
และน้ำหวานก็ต้องขอกราบขอบพระคุณน้าแม็ค น้าบุษบาและขอบคุณเบญยาภามากๆที่คอยช่วยเหลือน้ำหวานมาตั้งแต่น้ำหวานเกิด ทำให้น้ำหวานได้รู้จักกับเบญญาภา ซึ่งปัจจุบันนี้เราก้เป็นเพื่อนสนิทกัน และทำให้น้ำหวานได้รู้จักกับเพื่อนชาวต่างชาติ และที่สำคัญทำให้น้ำหวานได้รู้จักกับ Cocoพี่สาวที่คอยช่วยเหลือน้ำหวานให้ได้เรียนต่อในโรงเรียนที่น้ำหวานใฝ่ฝันและได้รู้จักกับ Gene พี่ชายที่ได้ช่วยเหลือน้องสาวของน้ำหวานให้ได้เรียนต่อที่โรงเรียนเดียวกัน และที่สำคัญที่สุด น้าแม็คและน้าบุษบา ก้ได้ช่วยเหลือน้ำหวาน ให้ได้ทำในสิ่งที่น้ำหวานคิดว่าคงไม่มีโอกาสได้ทำ ไม่มีโอกาสได้สัมผัส แต่ว่าน้าทั้งสองก้ได้ทำให้ความฝันนั้นกลายเป็นจริง น้าแม็คและน้าบุษบาได้ทุ่มเทและสียสละเวลามาช่วยเหลือน้ำหวาน และได้แนะนำให้น้ำหวานได้รู้จักกับสโมสรโรตารี่ กรุงเทพใต้ ถ้าไม่มีท่านทั้งสอง แน่นอนว่าน้ำหวานก็คงไม่ได้ไปที่ USA อย่างแน่นอน
ขอกราบขอบพระคุณทุกๆท่านอีกครั้งหนึ่ง น้ำหวานซาบซึ้งและปลาบปลื้มใจมากๆ ถ้าขาดท่านไปคนใดคนหนึ่ง น้ำหวานก็คงไม่มีโอกาสได้เหยียบผืนแผ่นดินของสหรัฐอเมริกาอย่างแน่นอน
Click here to view Nam Whan in America blog
http://www.asiasentinel.com/index.php?option=com_content&task=view&id=581&Itemid=32
The false promise of biofuels
PHILIP BOWRING
16 July 2007
The idea that plant-based fuel will save the planet is silly, dangerous and expensive
Evidence continues to mount that the world’s growing appetite for energy produced from agricultural products is having a serious impact on food and other commodity prices as farmers, particularly in the United States, convert cropland from food production. Over time the impact will be large and mostly detrimental on income distribution around the world. It will probably be abandoned within a decade.
Fidel Castro, the octogenarian Cuban caudillo, roused himself in late June from the autumn of his patriarchy to denounce US support for the use of food crops in fuel production, saying support for such uses could cause huge numbers of deaths from hunger. Last week Achim Steiner, the head of the U.N. Environment Program echoed Castro’s concerns, saying there is serious reason for concern about the potential for ethanol production to threaten food supplies for the poor.
With its astonishing ability to convert sunlight and rain into energy, Asia’s tropical belt is at the epicenter of this new environmental chimera. But across the planet, while weather and other supply factors have been at work for some crops and in some locations, they are only a small part of the explanation for food prices.
Wheat, for instance, has risen from US$325 a ton to US$620 over the past 12 months, soybeans from US$675 to US$875, corn from US$225 to US$375, rice from US$7 a bushel to US$10. Indeed of the most-traded basic foodstuffs, only sugar is about where it was a year ago, at 10 US cents a pound, and even hit 20 cents in between.
Of industrial crops, cotton has been erratic but is back at 60 cents a pound compared with 50 cents a year ago and there are growing indications that a shift in land from cotton to corn and other bio-fuel crops in China and the US will lead to supply shortfalls in the not too distant future. Even rubber output may be squeezed if the palm oil boom, resulting from its appeal as a source of bio-diesel, leads to further conversion of rubber plantations to palm oil.
Much of the marginal demand for the food crops is directly attributable to the rush to make ethanol and bio-diesel in the name of reducing carbon emissions, whether or not the substitution is justified on economic grounds, let alone environmental ones.
That is not to condemn bio-fuels out of hand. Brazil has been producing ethanol from sugar cane since the first oil crisis and now does so very profitably. But Brazil already has the world’s lowest production costs for sugar. Sugar’s international price has long been depressed by subsidies elsewhere – notably the EU’s sugar beet subsidy and US domestic support prices for sugar. It is possible that Thailand can get a net benefit from turning both sugar cane and tapioca (otherwise a low-value crop grown on marginal land) into ethanol. In the short run at least, Malaysia and Indonesia are benefiting from a rise in palm oil prices, which they hope will be underwritten for the longer term by investing in bio-diesel plants which will sustain demand.
Almost everywhere, from the US to the EU to Malaysia, rules and tax breaks have been created to push bio-fuel output and usage. The additional demand for feedstock for the multiple bio-fuel plants now under construction or planned is hard to estimate. However, even if oil prices collapse and many plants never get built, government regulations and existing installed capacity are likely to ensure that crop prices remain high for the foreseeable future. Indeed the price rises of the past year may be just the beginning.
Yet even on the most optimistic estimates bio-fuels can have no more than a marginal impact on carbon emissions.
While the West basks in the idea that bio-fuel is cleaning up the planet, additional carbon releases are being created by the clearance of tropical forests for oil palm in Southeast Asia and soybeans in Brazil. Inefficiencies are rising from US and EU agricultural policies, with the US subsidizing corn producers by subjecting Brazil’s sugar-based ethanol to prohibitive tariffs and the EU’s ethanol policy absorbing surplus food and thereby delaying the reform of its agricultural policy, which has disrupted world markets for decades. In addition, chemical inputs and fossil-fuel burning machinery are needed to bring marginal land into production.
There will also be a major global impact on income distribution. Farmers generally will benefit from a rise in product prices, which is a plus. In most countries farmers have suffered from a decline in the terms of trade relative to their urban compatriots. However, much of the benefit will go to the largest farmers in rich and middle income countries with large agricultural surpluses – US, Canada, Argentina, Malaysia, Australia etc – and to corporate agriculture.
Populous countries such as India, China and Vietnam, with a high proportion of their population still rural, face a dilemma. Higher farm prices are good but they must also take into account the needs of the majority, whether urban or rural, who are not farmers. That means either suppressing farm gate prices by one means or another, or using central government funds that should be allocated to education or health, to subsidize basic foods.
The bottom line is that the poorer a person or family, the higher the proportion of income that is spent on food. A rise in food prices relative to other goods necessarily shifts income from the poor to the relatively rich, whether the car-owning majority in rich countries or the car-owning minority in poor ones. It could also lead to a reversal of the tendency towards improving diet. Producers of animal pigs, chickens, farmed fish, and egg all turn crops into animal protein and hence their prices will rise almost as fast as those of the inputs. Even the cost of simple cotton clothing may rise as a result of a shift of land into other uses.
Bio-fuels may salve the consciences of energy-intensive rich countries and benefit the few poorer ones that have an abundance of useful ingredients such as palm oil. But a few years from now the notion that enforced use of bio-fuels could be good for the planet will be seen as one of the sillier ideas to have gripped the world at the beginning of the 21st century.